-
การงดอาหารเป็นช่วงกับการลดน้ำหนัก Intermittent fasting and weight loss
การงดอาหารเป็นช่วงกับการลดน้ำหนัก Intermittent fasting and weight loss ชื่อบทความ การงดอาหารเป็นช่วงกับการลดน้ำหนัก Intermittent fasting and weight loss ผู้เขียนบทความ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.ทิพวรรณ ศิริเฑียรทอง สถาบันหลัก คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รหัสกิจกรรม 1001-1-000-004-05-2563 ผู้ผลิตบทความ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การเผยแพร่บทความ ผู้ประกอบวิชาชีพทุกคน วันที่ได้รับการรับรอง 13 พ.ค. 2563 วันที่หมดอายุ 12 พ.ค. 2564 หน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง 2.5 หน่วยกิต บทคัดย่อ การงดอาหารเป็นช่วงเป็นรูปแบบการแบ่งเวลารับประทานอาหาร ที่จัดเวลาการรับประทานอาหารสลับกับ การงดอาหารเป็นระยะเวลาตั้งแต่ 12 ชั่วโมงขึ้นไป โดยไม่ได้ระบุชนิดอาหารที่ควรรับประทานหรืองดชัดเจน การงดอาหารเป็นช่วงมีหลายรูปแบบ เช่น งดอาหาร 16 ชั่วโมงต่อวัน งดอาหารวันเว้นวัน งดอาหาร 2 วันต่อสัปดาห์…
-
สารป้องกันแสงแดดและวิธีการประเมินประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ป้องกันแสงแดด
ชื่อบทความ สารป้องกันแสงแดดและวิธีการประเมินประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ป้องกันแสงแดด ผู้เขียนบทความ อาจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.รมย์ฉัตร ชูโตประพัฒน์ สถาบันหลัก คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รหัสกิจกรรม 1001-1-000-001-05-2563 ผู้ผลิตบทความ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การเผยแพร่บทความ ผู้ประกอบวิชาชีพทุกคน วันที่ได้รับการรับรอง 06 พ.ค. 2563 วันที่หมดอายุ 05 พ.ค. 2564 หน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง 3 หน่วยกิต บทคัดย่อ แสงแดดเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic radiation) ประกอบด้วยคลื่นความถี่ของรังสีหลายชนิด ได้แก่ รังสีอินฟราเรด 56% (ความยาวคลื่น 780-5000 นาโนเมตร) รังสีวิสิเบิลหรือแสงในช่วงที่ตามองเห็น 39% (ความยาวคลื่น 400-780 นาโนเมตร) และรังสีอัลตราไวโอเลตหรือยูวี 5% (ความยาวคลื่น 100-400 นาโนเมตร) มนุษย์สามารถรับรู้ถึงรังสีอินฟราเรดได้ในรูปของความร้อนเมื่อแสงแดดสัมผัสผิวหนังและรับรู้ถึงรังสีในช่วงวิสิเบิลได้ในรูปของการมองเห็นวัตถุเป็นสีต่างๆ ส่วนรังสีอัลตราไวโอเลตหรือยูวีเป็นรังสีที่มีผลต่อร่างกายของมนุษย์มากที่สุด หากได้รับรังสีดังกล่าวในปริมาณที่มากเกินพอดีจะส่งผลเสียต่อผิวหนัง เช่น การอักเสบ ริ้วรอยและมะเร็งผิวหนัง…
-
จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพเภสัชกรรม ตอน 2 ข้อจำกัดและเงื่อนไขการประกอบวิชาชีพ
จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพเภสัชกรรม ตอน 2 ข้อจำกัดและเงื่อนไขการประกอบวิชาชีพ ชื่อบทความ จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพเภสัชกรรม ตอน 2 ข้อจำกัดและเงื่อนไขการประกอบวิชาชีพ ผู้เขียนบทความ รองศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.วรรณา ศรีวิริยานุภาพ สถาบันหลัก คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รหัสกิจกรรม 1001-1-000-002-05-2563 ผู้ผลิตบทความ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การเผยแพร่บทความ ผู้ประกอบวิชาชีพทุกคน วันที่ได้รับการรับรอง 06 พ.ค. 2563 วันที่หมดอายุ 05 พ.ค. 2564 หน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง 2.5 หน่วยกิต บทคัดย่อ สภาเภสัชกรรมได้ทำการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. ๒๕๓๗ โดยออกพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ มีการปรับปรุงนิยามศัพท์ “วิชาชีพเภสัชกรรม” ให้สอดคล้องกับการประกอบวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมในปัจจุบัน คณะอนุกรรมการเพื่อศึกษาพัฒนาและติดตามกฎหมายหรือร่างกฎหมายที่มีผลต่อการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมในสภาเภสัชกรรมจึงนำข้อบังคับสภาเภสัชกรรมว่าด้วยข้อจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ มาแก้ไขปรับปรุงให้ครอบคลุมนิยามศัพท์ใหม่ดังกล่าว และทำการเปิดรับฟังความคิดเห็นของผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมในสาขาต่างๆ จากนั้นจึงนำเสนอคณะกรรมการสภาเภสัชกรรมพิจารณาออกเป็นข้อบังคับสภาเภสัชกรรม ว่าด้วยข้อจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรรม พ.ศ….